Wednesday, January 11, 2017

The 12th National Education Plan of the Kingdom of Thailand: Key Ideas

The 12th National Education Plan of the Kingdom of Thailand: Key Ideas

Janpha Thadphoothon, Ed D

The committees responsible for the plan are convened and administered by the Office of Educational Policies and Strategies, under the Office of the Permanent Secretary, The Ministry of Education

The 12th national education plan is a tool to monitor and frame the direction of the educational practice of the Ministry of Education, including its departments and units under its jurisdiction.




Below are the key idea of the 12th plan.

1. The 12th natuional education plan starts from October 1, 2016 untill September 30th, 2021.

2. The main aim is: “ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” or "Humans are  at the center of Development" -- at the center of the development are the people. This plan is to take 'people' into consideration.

3. Hence, the plan aims to develop the quality of life of the Thai people.

4. The vision of the 12th plan: “The end product of the education is the Thai citizens who have both knowledge, skills, and moral integrity with good quality of life and happiness."

This is the Thai version of the vision: " มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข ในสังคม” 

มุ่งสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีส าหรับคนไทย พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์มีวินัย ใฝ่รู้มีความรู้ มีทักษะ
มีความคิดสร้างสรรค์มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการ
ในฐานะหน่วยงานหลักในภาคการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพคนของประเทศ ได้ตระหนักถึงความส าคัญ
ดังกล่าว ดังนั้น ภายใต้วิสัยทัศน์“มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข
ในสังคม” ของแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ฉบับนี้
จึงได้มีการก าหนดยุทธศาสตร์และวางเป้าหมายที่สามารถตอบสนองการพัฒนาที่ส าคัญในด้านต่างๆ คือ
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยุทธศาสตร์พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและ
ประเมินผล ที่มุ่งหวังให้คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาประเทศ
ในอนาคต ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพและด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ยุทธศาสตร์ผลิต พัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ที่มุ่งหวัง
ให้มีการผลิตครูได้สอดคล้องกับความต้องการในการจัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และมีสมรรถนะ
ตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถใช้ศักยภาพในการสอนได้อย่างเต็มที่ ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนาก าลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับ
ความต้องการของการพัฒนาประเทศ ที่มุ่งหวังให้ก าลังคนได้รับการผลิตและพัฒนาเพื่อเสริมสร้างศักยภาพ
การแข่งขันของประเทศ และมีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพ และด้านการตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลง
ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้
อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ที่มุ่งหวังให้การบริการการศึกษาแก่ผู้เรียนทุกกลุ่มทุกวัยในระดับที่เหมาะสมกับ
สภาพบริบทและสภาพพื้นที่ ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านการเข้าถึงการให้บริการและด้านความเท่าเทียม
ยุทธศาสตร์ ๕ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ที่มุ่งหวัง
ให้คนไทยได้รับโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งตอบสนอง
การพัฒนาในด้านการเข้าถึงการให้บริการ ด้านความเท่าเทียม และด้านประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ ๖ ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการ และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม
ในการจัดการศึกษา ที่มุ่งหวังให้มีการใช้ทรัพยากรทั้งด้านงบประมาณและบุคลากรได้อย่างคุ้มค่า ไม่เกิด
การสูญเปล่า และมีความคล่องตัว ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านประสิทธิภาพ
ในขั้นตอนการก าหนดสาระส าคัญของแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ข้างต้นซึ่งประกอบด้วย เป้าหมายหลัก วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์นั้น
จะเน้นให้ความส าคัญในการวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) และแผนการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๔ กับทิศทางที่จะพัฒนาการศึกษาในมิติต่างๆ ทั้งในมิติด้านความมั่นคง มิติด้านเศรษฐกิจ
มิติด้านสังคม และมิติด้านการบริหารจัดการภาครัฐ รวมทั้งได้วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน
(SWOT) ที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงศึกษาธิการทั้งหมด ได้แก่ สถานการณ์ความขัดแย้งของคนภายในประเทศ
-ข-
อันเนื่องมาจากปัญหาทางการเมือง ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การติดกับดักประเทศที่มี
รายได้ปานกลางอันเนื่องมาจากสภาวะทางเศรษฐกิจ ปัญหาคุณภาพแรงงาน โครงสร้างประชากรเข้าสู่การเป็น
สังคมสูงวัย การเปิดเสรีภายใต้ข้อตกลงเขตเศรษฐกิจอาเซียน การก้าวกระโดดของเทคโนโลยีไปสู่สังคมดิจิทัล
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก (SDGs) อ านาจหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการตามที่กฎหมายได้ก าหนดไว้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ ค าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติ (มาตรา ๔๔) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕60 รวมทั้งใช้ผลการประเมินของ
แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ที่ผ่านมา การตรวจสอบ
สถานภาพด้านต่างๆ ของกระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบัน และการคาดการณ์แนวโน้มการด าเนินงานของ
กระทรวงศึกษาธิการในอนาคตมาใช้ในการร่วมวิเคราะห์
ส าหรับการน าแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔)
ไปสู่การปฏิบัติ(Implement) จะเน้นให้ความส าคัญกับการถ่ายทอดสาระส าคัญของแผนพัฒนาฯ ไปสู่
การจัดท าแผนปฏิบัติราชการของทุกองค์กรหลักและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีเงื่อนไข
ที่ส าคัญคือการก าหนดเจ้าภาพหลักผู้รับผิดชอบในแต่ละตัวชี้วัดของแผนฯ และใช้กลไกการก ากับ ติดตาม
รายงานผลการด าเนินงานตามตัวชี้วัด โดยคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวง-
ศึกษาธิการในภูมิภาค ส าหรับการขับเคลื่อนแผนงาน/โครงการในระดับพื้นที่ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา
การศึกษาฯ นั้น จะมีคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด เป็นกลไกหลักในการประสานงานร่วมกับภาคเอกชน
สถานประกอบการ และภาคประชาสังคมอันได้แก่ ครอบครัว ชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา และ
สถาบันทางสังคมอื่นๆ เพื่อให้เป็นไปตามแนวนโยบายประชารัฐ ทั้งนี้ ในการประเมินผลความส าเร็จของ
แผนพัฒนาการศึกษาฯ เมื่อได้รวบรวมข้อมูลสถิติที่สะท้อนผลการด าเนินงานจริงในแต่ละตัวชี้วัดและน ามา
เปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายตามที่ระบุไว้ในแผนพัฒนาการศึกษาฯ จะสามารถประเมินความส าเร็จ ทั้งใน
ภาพรวมของแผนพัฒนาการศึกษาฯ และสามารถประเมินผลในระดับยุทธศาสตร์โดยจะมีการประเมิน
ในช่วงระยะครึ่งแผนฯ ก่อน (ประมาณปี ๒๕๖๒) เพื่อท าการพิจารณาทบทวนปรับปรุงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์
และแนวทางการด าเนินงานให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น หลังจากนั้นจึงท าการประเมินเมื่อสิ้นสุดระยะ
ของแผนพัฒนาการศึกษาฯ อีกครั้ง ในปี ๒๕๖๔ เพื่อน าผลการประเมินไปใช้ในการวิเคราะห์จัดท าแผนพัฒนา
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) ต่อไป

References

http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=47194&Key=news20

http://www.ops.moe.go.th/home/index.php [Office of the Permanent Secretary]

No comments:

Post a Comment

Why Write Tanka?

Why Write Tanka? By Janpha Thadphoothon I would like to introduce to you another poetic form from Japan – tanka. A tanka is a Japanese poem ...