ความเชื่อมโยงทางภาษาและวัฒนธรรมระหว่างกันของ ไทย พม่า เขมร ลาว จีนและเวียดนาม (Language and Cultural Relationships among the Thai, Khmer, Lao, Vietnamese, Chinese, and Burmese )
Disclaimer: This topic is a work in progress and it is mainly my personal investigation.
ข้อสังเกต ความเชื่อมโยงทางภาษาและวัฒนธรรมระหว่างกันของ ไทย พม่า เขมร ลาว จีนและเวียดนาม
Note: There are several other languages and cultures related to these six languages.
Let's begin with the sentence "I love you."
Thai: ฉันรักคุณ.
Khmer: ខ្ញុំស្រលាញ់អ្នក។
Vietnamese: Anh yêu em.
Lao: ຂ້ອຍຮັກເຈົ້າ.
Chinese: 我爱你。
Burmese: မင်းကိုချစ်တယ်။
Except for Burmese, all other 5 languages follow the S+V+O syntactic structure.
The Burmese is similar to Japanese, that is, it follows to O + particle + V, knitting the subject in most cases
Thai, Lao, Khmer, and Burmese are sharing a lot of Indic roots. The word Metta is being used across the four languages, meaning the same thing - love and kindness.
The expression "Have you eaten rice yet?" is another good example, reflecting the "rice culture" of these neighbors.
ทานข้าวยัง (Thai)
ထမင်းစားပြီးပြီလား (Burmese)
你吃米饭了吗 (Chinese)
ທ່ານໄດ້ກິນເຂົ້າຫຼືຍັງ (Lao)
ញ៉ាំបាយហើយឬនៅ? (Khmer)
Ăn cơm chưa (Vietnamese)
หนึ่งในข้อสังเกตคือ
วิธีการและคำที่ใช้แสดงการเปลี่ยนจากประโยคบอกเล่าเป็นประโยคปฏิเสธ
ภาษาจีน เท่าที่รู้
เติมคำว่า ปู้ 不 หน้าคำกริยา
เช่น
หว่อปู้ชื่อจงกั๋วเริน ฉันไม่ใช่คนจีน
ปู้ห่าว
ไม่ดี
แบบใช้ เม 没 (ไม่)
เช่่น เมโหย่ง ไม่มี เช่น
Wǒ méiyǒu qián หว่อ เมโหย่ เชี่ยน ฉันไม่มีเงิน
หว่อ
เมโหย่ เกอเก้อ ฉันไม่มีพี่ชาย
เมเวิ่นตี้
ไม่มีปัญหา
จะว่าไปแล้ว ภาษาไทยก็มีการใช้คำที่มีเสียงคล้ายคำว่า
ปู้ เหมือนกัน นั่นคือคำว่า ไป่ แต่ออกจะเป็นภาษากวีนิดหน่อย เช่น ไป่มี แปลว่า
ไม่มี
สรุป จีน นำคำว่า ปู้
และ เม นำหน้าคำกริยา
ไทย
นำคำว่า ไป่ และ ไม่ นำหน้าคำกริยา
ในส่วนของภาษาเวียดนามนั้น
การปฏิเสธ ทำได้โดยนำคำว่า คง (không) วางไว้หน้าคำกริยา เช่น
โตยคงหิว ฉันไม่รู้
เดื่องคงโต๊ด
ถนนไม่ดี
เคยสงสัยเหมือนกันว่า
คง มาจากไหน แต่พอมาเรียนภาษาจีนจึงได้รู้ว่า คำว่า คง คล้าย ๆ ดับคำว่า คง 空
ในภาษาจีนที่แปลว่า ว่างเปล่า ไม่มีอะไร
เช่น
空白 คงไบ๋ ที่ว่าง
ภาษาลาว นั้นใช้คำว่า
บ่อ นำหน้าคำดริยา เช่น บ่มีเงิน แปลว่า ไม่มีเงิน
การใช้คำว่าบ่
ในลักษณะนี้ ภาษาไทยเราก็มีใช้เหมือนกันคือ บ หรือ บ่ ในภาษาไทย แปลว่า ไม่
เช่นกัน ลองเข็คในพจนานุกรมดูแล้ว ยืนยันว่าใช่
หากอ่านโครงสุภาษิตโบราณของไทย
เช่น สมัยต้นรัตนโกสินทร์ เราจะพบการประพันมักนิยมใช้ ไป่ บ และ บ่ บ่อยมาก
เช่น ควรกลัวบ่คิดกลัว
บ่เอื้อ เฉกคนปโฉดไป่มี มารยาต
ในภาษาจีนแต้จิ๋วนั้น
บ่ หรือปู้ ในภาษาจีนกลางนั้นไม่ต่างในการใช้หากเทียบกับภาษาไทยและลาว
บ่ตั่วบ่โส่ย แปลว่า
ไม่เล็กไม่ใหญ่
บ่อเซียงกั้ง
คือ บ่เป็นหยัง หรือ ไม่เป็นไรในภาษาไทย
สรุป ภาษาไทย ลาว
จีนและเวียดนาม มีความเชื่อมโยงทางภาษาระหว่างกันและกันสูงมาก
ทั้งในด้านโครงสร้างทางภาษา รากศัพท์ การใช้คำเปรียบเทียบ
No comments:
Post a Comment